แหล่งรวมเกมส์ชั้นนำ สล็อต คาสิโน บาคาร่า พร้อมระบบล้ำทันสมัย รวดเร็วทันใจ

รวมข้อดี ปาปิยอง สุนัขที่มีความตื่นตัว แต่ไม่ก้าวร้าว

รวมข้อดี ปาปิยอง

รวมข้อดี ปาปิยอง น้องเป็นสุนัขสายพันธุ์เล็ก จัดอยู่ในกลุ่ม Toy ที่มีขนาดตัวเล็ก ขนยาวสลวย และเป็นสุนัข ที่มีรูปร่างสง่างาม เป็นที่ชื่นชอบ ของผู้คนที่พบเห็น แถมน้องสุนัขพันธุ์นี้ ยังมีความกระตือรือร้น และมีความสุขอยู่ตลอดเวลา รวมถึงยังมีการเคลื่อนไหว ได้อย่างคล่องแคล่ว และมีอุปนิสัยดีอีกด้วย

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ น้องสุนัข ปาปิยอง

สุนัขพันธุ์ปาปิยอง เป็นสุนัขที่กระตือรือร้น ไม่ค่อยเขินอาย หรือ มีพฤติกรรมก้าวร้าว กับดุร้ายใดๆ แต่จะมีความตื่นตัว และชอบทำกิจกรรมมาก ซึ่งน้องหมาพันธุ์นี้ จะชอบออกไป ผจญภัยนอกบ้าน ได้ทั้งวัน และจะไม่สนใจอะไร จนกว่าจะเข้านอน ถือเป็นสุนัขอีกหนึ่งสายพันธุ์ ที่ได้รับความนิยม ในการเลี้ยงดู

ข้อมูลจำเพาะของ น้องสุนัขปาปิยอง

  • ชื่อทั่วไป : ปาปิยอง
  • ชื่อภาษาอังกฤษ : Papillon
  • ถิ่นกำเนิด : ฝรั่งเศส, เบลเยียม, สเปน
  • กลุ่มสายพันธุ์ : กลุ่มสุนัขพันธุ์ Toy
  • กลุ่มขนาดสายพันธุ์ : สุนัขพันธุ์เล็ก
  • อายุขัยเฉลี่ย : ประมาณ 10-14 ปี
  • น้ำหนัก : หนักประมาณ 4-9 ปอนด์
  • ส่วนสูง : สูงประมาณ 8-11 นิ้ว
  • ลักษณะนิสัย : อ่อนไหว, ฉลาด, เป็นตัวของตัวเอง, ซื่อสัตย์
  • ลักษณะขน : ขนตรง ยาวสลวย
  • สีของขน : สีดำกับสีขาว
  • สีขาวกับสีน้ำตาล, สีขาวกับสีส้ม

ที่มา: Papillon dog [1]

ประวัติทั่วไปของ น้องสุนัขปาปิยอง

สุนัขสายพันธุ์ปาปิยอง เป็นทายาทของ European toy spaniel ซึ่งได้ปรากฏ เป็นครั้งแรก ในภาพวาด ของราชวงศ์ ในยุโรปในช่วงต้น คริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มีชื่อเสียงที่สุด คือผลงานของ Titian (Vecelli) ที่ได้รวม Spaniel ขนาดเล็กไว้มากมาย ซึ่งภาพวาดเหล่านั้น เริ่มวาดขึ้นในช่วง คริสต์ศักราชที่ 1500 [2]

การดูแลน้องสุนัข ปาปิยอง ให้มีอายุที่ยืนยาว

รวมข้อดี ปาปิยอง

สุนัขพันธุ์ปาปิยอง นับว่าเป็นหนึ่ง ในสายพันธุ์สุนัข ที่ฉลาดมาก น้องชอบเอาใจเจ้าของ และด้วยขนาดตัว ที่เล็กกะทัดรัด ทำให้ง่าย ต่อการทำกิจกรรมต่างๆ รวมถึงน้องสุนัขสายพันธุ์นี้ จะมีรูปร่างหน้าตา ที่คล้ายคลึงกับ สุนัขสายพันธุ์ เจแปนนิสชิน อีกด้วย แต่จะแตกต่างกันที่ใบหู ที่เห็นได้อย่างชัดเจน

การเลี้ยงดู น้องสุนัขปาปิยอง ให้มีสุขภาพดี

การออกกำลังกาย : จัดว่าเป็นสุนัขพันธุ์เล็ก ที่มีชีวิตชีวามาก โดยน้องหมา จะร่าเริง กระโดดโลดเต้นอย่างมีความสุข เมื่อถึงเวลาเล่น หรือทำกิจกรรม ที่ตนเองชอบ ด้วยการ เดินเล่น วันละ 30 นาทีต่อวัน ก็ถือว่าเพียงพอ สำหรับน้องหมาแล้ว

อาหารและโภชนาการ : ควรมีการให้อาหาร ที่มีประโยชน์ และมีสารอาหารครบถ้วน ตามหลักโภชนาการ และให้อาหาร ในปริมาณที่เหมาะสม กับช่วงอายุวัย และขนาดตัว ของน้องหมาด้วย ซึ่งการให้อาหาร วันละสองมื้อต่อวัน ก็ถือว่าเหมาะสมแล้ว

ที่มา: สุนัขสายพันธุ์ปาปิยอง (Papillon) [3]

น้องสุนัข ปาปิยอง กับโรคที่ควรระวัง

โรคระบบประสาท : เป็นโรคที่เกี่ยวกับ ความผิดปกติ ทางระบบประสาท ของน้องหมา และโรควิตกกังวล (Anxiety) ซึ่งเป็นโรควิตกกังวล ต่อการแยกจาก หรือว่าเกิดจากบาดแผลทางใจ (Separation Anxiety)

โรคระบบต่อมไร้ท่อ : โรคนี้เกี่ยวกับ ระบบของต่อมที่ผลิตฮอร์โมน ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต โดยโรคที่ต่อมเหล่านี้ ผลิตฮอร์โมนมากเกินไป หรือไม่เพียงพอ รวมถึงภาวะน้ำตาล ในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)

โรคระบบทางเดินหายใจ : ภาวะหลอดลมตีบ (Tracheal collapse) เป็นโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติ ของกระดูกอ่อนโดยตรง ที่ทำให้เกิดการยุบตัว หรือการเสื่อมสภาพ ของหลอดลม นั่นเอง

โรคตา : เป็นโรคที่เกี่ยวกับดวงตา ซึ่งโรคต้อกระจก (Cataracts) กับโรคจอประสาทตาเสื่อม (Progressive Retinal Atrophy) จะพบได้มาก ในสุนัขที่ เริ่มมีอายุมาก หรือสุนัขที่แก่แล้ว นั่นเอง

ที่มา: Documentary : PAPILLON สุนัขสายพันธุ์ปาปิยอง [4]

สรุป รวมข้อดี ปาปิยอง น้องหมาผู้น่ารัก

สรุป รวมข้อดี ปาปิยอง เป็นสุนัขสายพันธุ์เล็ก ที่มีรูปร่างสง่างาม มีขนยาวสลวย และเป็นน้องสุนัข ที่ขึ้นชื่อ ในเรื่องความฉลาด ชอบเอาใจเจ้าของ และมีความเป็นมิตร ต่อผู้อื่น และด้วยขนาดตัว ที่เล็กกะทัดรัด ทำให้ง่ายต่อการทำกิจกรรม โดยไม่ต้องใช้พื้นที่เยอะ แถมยังเหมาะสำหรับ ครอบครัวที่มีเด็กอีกด้วย

น้องสุนัข ปาปิยอง ราคาเท่าไร

สุนัขสายพันธุ์นี้ จะมีราคาค่าตัว อยู่ที่หลักหมื่นขึ้นไป โดยน้องจะมีราคา ประมาณ 19,000-22,000 บาทต่อตัว หรือ มีราคามากกว่านี้ ขึ้นอยู่กับ แหล่งเพาะพันธุ์ ขนาดตัว ของน้องหมา และช่วงอายุวัย เป็นต้น

น้องสุนัข ปาปิยอง เข้ากับผู้อื่นได้ไหม

น้องหมาพันธุ์นี้ เข้ากับสัตว์เลี้ยงตัวอื่น และคนในครอบครัวได้ดี รวมถึงผู้อื่นด้วย หากได้รับ การฝึกเข้าร่วมสังคม ตั้งแต่ยังเด็ก รวมถึงน้องหมาพันธุ์นี้ จะไม่แสดงพฤติกรรม ที่ก้าวร้าว หรือดุร้าย กับผู้อื่น

Facebook
Twitter
Telegram
LinkedIn
ข้อมูลผู้เขียน

แหล่งอ้างอิง